การเสียภาษีของบุคคลธรรมดาจะขึ้นอยู่กับรายได้โดยรวมต่อปีของแต่ละบุคคล หากเป็นผู้ที่มีรายได้จากงานประจำอย่างเดียวและผู้มีฐานเงินเดือนไม่ถึง 10,000 บาทจะไม่ต้องยื่นและไม่ต้องเสียภาษี ส่วนผู้ที่มีเงินได้ที่ ต้องยื่นแบบแสดงรายการภาษี มีหน้าที่ของผู้ที่มีรายได้ถึงเกณฑ์ตามที่กฎหมายกำหนด โดยมีการกำหนดขอบเขตของรายได้ที่ต้องยื่นภาษีและต้องเสียภาษี ไว้ดังนี้
ต้องนำจำนวนรายได้สุทธิทั้งปีมาเทียบเกณฑ์การยื่นภาษีอีกที ดังนี้
เงินได้สุทธิ (บาท) | อัตราภาษี |
---|---|
0 - 150,000 | ยกเว้น |
150,001 - 300,000 | 5% |
300,001 - 500,000 | 10% |
500,001 - 750,000 | 15% |
750,001 - 1,000,000 | 20% |
1,000,001 - 2,000,000 | 25% |
2,000,001 - 5,000,000 | 30% |
5,000,001 ขึ้นไป | 35% |
เงินเดือน 40,000 บาท
โบนัส 100,000 บาท
(40,000 × 12)+100,000
= 580,000 บาท
(40,000 × 12) × 50%
= 240,000 บาท
คิดได้สูงสุด 100,000 บาท
ค่าลดหย่อนส่วนตัว 60,000 บาท
ค่าเบี้ยประกันชีวิต 20,000 บาท
60,000+20,000
= 80,000 บาท
ควรวางแผนอยู่ในการคำนวณภาษีไว้แต่แรก เพราะถึงแม้จะมีรายได้สุทธิอยู่ในเกณฑ์ 5% แต่ก็เป็นจำนวนไม่น้อย (เช่น รายได้รวมเพียง 200,000 ก็คิดเป็นเงินภาษี 5% ได้ 10,000 บาท)การวางแผนลดหย่อนสามารถช่วยลดภาระการเสียภาษีไปได้ไม่น้อย หรือในบางครั้งอาจทำให้ไม่ต้องชำระภาษีเพิ่ม แถมยังมีสิทธิขอเงินคืนได้อีกด้วย โดยเฉพาะสำหรับผู้ที่มีบุตร หรือผู้เลี้ยงดูพ่อแม่อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่อาจมีโอกาสได้รับการลดหย่อนเพิ่มเติม โดยมีค่าลดหย่อน 4 กลุ่ม ดังนี้
ชำระเบี้ยพร้อมรับ
กรมธรรม์ทาง
ออนไลน์ได้ทันที
รับความคุ้มครอง
และออกกรมธรรม์
ภายใน 1-2 วันทำการ
ทุกธุรกรรม
ด้วยมาตรฐาน
ISO 27001
หลังการขายด้วย
บริการ Call Center
24 ชม.